Last updated: 10 มิ.ย. 2563 | 4362 จำนวนผู้เข้าชม |
ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการติดตั้งอย่างปลอดภัย
1. อ่านและปฏิบัติตามอย่างละเอียดทุกขั้นตอน
2. Swing Gate Openner เหมาะสำหรับการใช้ยานพาหนะที่มีน้ำหนักไม่เกิน 6000 ปอนด์ (Vehicular Class I) ซึ่งหมายถึงขนาดพื้นที่รองรับยานพาหนะ ในกรณีนี้อาจจะหมายถึง โรงจอดรถหรือลานจอดรถโดยทั่วไป
3. ผู้ออกแบบ ผู้ติดตั้ง และผู้ใช้ Gate Opening System ควรมีใบรับรอง เพื่อรับประกันความปลอดภัย เพราะการออกแบบการติดตั้งรวมถึงการบำรุงรักษาที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกินอันตรายแก่บุคลทั่วไปได้ ดังนั้นการออกแบบระบบและการติดตั้งต้องสามารถรถลดอันตรายที่สามารถเกิดขึ้นได้ในพื้นที่สาธารณะ อะไรที่เป็นจุดอันตรายควรกำจัดหรือได้รับการป้องกันเอาไว้
4. Gate Opener มีพลังในการทำงานสูงแม้จพทำงานในรูปแบบปกติ ดังนั้นคุณสมบัติด้านความปลอดภัยและการติดตั้งต้องประกอบรวมกันอย่างเป็นระบบรวมถึงอุปกรณ์รับสัญญาณด้วย
5. ด้านประตูต้องถูกติดตั้งอย่างเหมาะสมและทำงานได้อย่างอิสระทั้ง 2 ด้าน (เข้าและออก)
6. ตัวประตูต้องถุกติดตั้งอย่างเหมาะสม ซึ่งเพียงพอต่อระยะห่างของประตูและตัวระบบเพื่อลดอันตรายสำหรังการติดกับของประตู ตัวประตูบานสวิงจะต้องไม่เปิดไปในพื้นที่สารธารณะ
7. สำหรับตัว Openrr ที่เหมาะสำหรับการใช้กับยานพาหนะ จะไม่สามารถใช้งานกับบุคคลที่เดินทางทั่วไปได้ผู้ที่เป็นบุคคลทางเข้าทั่วไปจะต้องใช้ Opener สำหรับบุลคลซึ่งแยกออกมาเป็นอีกประเภทหนึ่ง ฉะนั้นบุคคลทั่วไปจะไม่สามารถใช้ Opener ที่ไว้ใช้สำหรับยานพาหนะ
8. บุลคลที่เดินทางเท้าไม่ควรเดินผ่านทางในระยะที่ประตูเคลื่อน โดยเฉพาะOpener ไม่เหมาะสมกับบุคคลทาง
เท้า ซึ่งเลือกใน Opener ให้เหมาะสมประเภทการใช้งานเท่านั้น
9. สำหรับการติดตั้งในกรณีตัวสัญญาณไม่ได้บอกชื่อผู้ผลิต (non-contact sensors) ให้ดูคู่มือการใช้ที่บรรจุภัณฑ์เพื่อที่เราจะได้รู้ว่าตัวเซ็นเซอร์ (safety sensors) เหมาะการรับรองใช้งานประเภทไหนบ้าง
A.การดูแลรักษาที่สามารถลดความอันตรายในกรณีเกิดความติดขัดของการทำงาน อย่างเช่น ในกรณีพื้นที่เขตรอบนอกที่บานประตูกำลังเคลื่อนอยู่ เป็นต้น
B.อีกหนึ่งข้อสำหรับการใช้ Non-contact sensors ควรติดตั้งไว้ในกรณีที่ประตูสารมารถหนีบสิ่งกรีดขว้างได้ อาทิ เช่น พื้นที่เขตรอบนอกที่บานประตูหรือที่กั้นสามารถเคลื่อนผ่านได้
10. ไม่ควรติดตั้งอุปกรณ์การทำงานหลักของประตูที่ทำให้ผู้ใช้สามารถ เอื้อมหรือลอดผ่านเข้ามายังแผงควบคุมได้โดยง่าย ซึ่งตัวแผงควบคุมควรติดตั้งไว้ให้ห่างจากระยะเคลื่อนที่ของประตูอย่างน้อย 1.8 เมตร
11. แผงควบคุมการทำงานถูกกำหนดให้รีเซตการตั้งค่าการใช้งานหลังจากอุปกรณ์การป้องกันประตูหนีบทำงานได้ 2 ครั้ง ฉะนั้นอุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันดังกล่าวต้องถูกติดตั้งให้อยู่ในแนวเดียวกับประตูในระดับสายตา และควรติดตั้งคุณสมบัติเพิ่มเติม เพื่อป้องกันบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้รับอนุญาตมาใช้งาน และไม่อนุญาตให้ใครมาเกาะหรือลอดตลอดบริเวณการทำงานของประตู
12. แต่ละบานประตูต้องติดป้ายเตือน ซึ่งป้ายเตือนนี้จะถูกติดไว้ทั้งด้านหน้าและด้สนหลังของประตู ให้มองเห็นได้โดยง่าย
13. เพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดจากใต้พื้นดินควรติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อนทำการขุดเจาะพื้นที่บริเวณนั้น
14. ไม่อนุญาตให้เด็กๆ มาวิ่งเล่นในบริเวณประตูและเก็บอุปกรณ์เครื่องมือควบคุมให้พ้นมือเด็ก
ชิ้นส่วนประกอบสำหรับประตูบานคู่
ชิ้นส่วนประกอบสำหรับประตูบานเดี่ยว
ข้อมูลทางเทคนิคและคุณสมบัติ
Specifications
MK1101/1102 MK1101M/1102M | MK1301/1302 MK1301M/1302M | MK1501M/1502M | |
Input: | 230V/50Hz | 230V/50Hz | 230V/50Hz |
Motor voltage: | 24VDC | 24VDC | 24VDC |
Power: | 50W each actuator | 80W each actuator | 100W each actuator |
Current: | 2A | 3A | 4A |
Actuator speed: | 16mm/s | 16mm/s | 16mm/s |
Max. actuator travel: | 385mm | 385mm | 385mm |
Max. Weight of the gate: | 200kgs | 300kgs | 400kgs |
Max. Width of the gate: | 10 ft | 10 ft | 13 ft |
Ambient Temperature | -20 ํC-+50 ํC (-4 ํF to 122 ํF) | -20 ํC-+50 ํC (-4 ํF to 122 ํF) | -20 ํC-+50 ํC (-4 ํF to 122 ํF) |
Protection class: | IP44 | IP44 | IP44 |
คุณสมบัติพิเศษ
การเตรียมพร้อมสำหรับการติดตั้ง
การวางตำแหน่งขาจับยึดเสาที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับประสิทธิภาพของ Gate Opener ระยะห่างของ Gate Opener (โดยปกติคือ 2.5 cm/1 inch หรือมากกว่า) จะถูกกำหนดไว้จากการติดตั้งในระยะที่เหมาะสม
ในกรณีที่เสากลมหรือเสเหลี่ยม ก็สามารถใช้กับขาจับยึดเสารุ่นนี้ได้เพราะการดีไซน์ที่ออกแบบมาให้รองรับกับสภาพดังกล่าว เมื่อคุณติดตั้งตัวเชื่อมเข้าไปให้ใช้น๊อตที่มีขนาดยาวพอที่จะเจาะทะลุเข้าไปได้ทั้งเสา คุณสามารถประกอบขาจับยึดเสาเข้ากับเสาไม้ โดยใช้แหวนรองน๊อตขนาดใหญ่ (Larger-size washer) หรือแผ่นเหล็ก (Metal plate) กั้นระหว่างตัวเสากับน๊อตตัวผู้ (Bolts) เพื่อยึดให้มั่นคง
ในกรณีที่ขนาดของเสามีเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า 15 cm ควรประกอบตัวจับยึดลงไปในผนังซีเมนต์ เพื่อความมั่นคงของเสา
การกำหนดตำแหน่งและประกอบฮาร์ดแวร์
Note : กรุณาทำตามหลักการติดตั้งตามข้อมูลที่ให้เท่านั้น
ตามหลักการดังกล่าวคุณสามารถกำหนดระยะที่เหมาะสม สำหรับติดตั้งขาเชื่อมกับประตูตามตารางข้างล่างดังต่อไปนี้
Note : ควรระวังระยะห่างของจุด A เมื่อติดตั้งตัว Opener ซึ่งต้องมีความยาวอย่างน้อย 8 cm มิฉะนั้น พลังในการเปิดจะไม่สัมผัสกับแรงยึดเหนี่ยวประตู และเป็นต้นเหตุให้พลังในการเปิดประตูนั้นไม่สมบูรณ์ข้าไป
ขั้นตอนที่ 1
ตั้งขายึดมอเตอร์ (Post Pivot Bracket) ให้อยู่ระหว่างกลางของขาจับยืดเสา (Post bracket) ทั้ง 2 อัน ขนาดสอดน๊อตขนาด M10 x 30 เข้าระหว่างรูตรงกลางที่สามารถเชื่อมระหว่างขาจับยึดเสาและขายึดมอเตอร์ แหวน รองน็อต (Washer) ¢10, Lock Washer ¢10 และ น็อตตัวเมีย (Nut) M10 สอดเข้าตรงด้านล่างของน็อตตัวผู้แล้วไขให้แน่น
ขั้นตอนที่ 2
ให้นำตัวจับยึดเสาที่ได้ทำการประกอบไว้ในขั้นตอนแรกต่อเข้ากับตัว Opener โดยใช้สลักเคลวิสยึดเข้าไว้ด้วยกัน จากนั้นให้ใช้กิ๊ปล็อกยึดตัวสลักเคลวิสไว้อีกครั้ง เพื่อความปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 3
ตัวบานประตูสามารถกำหนดระยะการเปิดของบานประตูตั้งแต่ 0-100 องศา ซึ่งการกำหนดระยะดังกล่าว สามารถทำได้ โดยการประกอบขาเชื่อมบานประตูเข้ากับตัวจับยึดเสาที่ได้ทำการประกอบไว้แล้ว โดยที่ตัว Gate Opener จะทำการตั้งขนานราบเป็นเเนวเดียวกับประตู ในขณะที่คุณกำหนดระยะการเปิดของประตู เพื่อให้ทำมุมในระดับที่ต้องการ สามารถใช้ C-clamps ยึดไว้ตรงขั้วเสากับบานประตุไว้ชั่วคราวจนกว่าจะได้ตำแหน่งที่ต้องการ ดังภาพข้างล่าง
Note : ตัว Gate Opener ถูกออกแบบให้มีระบบรักษาความปลอดภัย ซึ่งมาในรูปแบบของกุญแจฉุกเฉิน นอกจากนั้นคุณยังสามารถปรับระบบ Push และ Pull โดยยึดหรือหดตัวด้ามเชื่อมประตู ู(Moving rod) ได้อีกด้วย แต่จงให้แน่ใจว่า ตัว Opener ของทั้งสองบานประตูนั้นได้ถูกล็อคแล้วก่อนที่คุณจะทำการเปิดใช้งาน
ขั้นตอนที่ 4
เม่ื่อประกอบตามขั้นตอนข้างต้นเสร็จแล้วให้แน่ใจว่าระยะห่างของของประตูและตัว Gate opener นั้น อย่างน้อย 2.5 cm ทั้งในระยะที่ประตูปิดและประตูเปิด เมื่อได้ตำแหน่งและระยะห่างตามที่ต้องการแล้ว ให้ดึงสลักเคสวิสออก จากนั้นกป็ิดประตู และจัดตัว Gate opener และขาจับยึดเสาให้อยู่ในระนาบเดียวกัน
Note : จงแน่ใจว่าตัว Gate Opener และขาจับยึดมอเตอร์ไม่ติดทับกันกรณีที่ประตูเปิดและประตูปิด
ถ้าในกรณีระยะห่างไม่เพียงพอ หรือตัว Gate Opener ติดทับกับตัวขาจับยึดมอเตอร์ คุณสามารถเคลื่อน ตำแหน่งของตัวจับยึดเสาที่ประกอบกันไว้เสร็จแล้วไปทางซ้ายหรือทางขวา เพื่อให้ได้ตำแหน่งที่เหมาะสม หลังจากที่คุณได้กำหนดตำแหน่งตามระยะที่ต้องการของตัวขาจับยึดมอเตอร์แล้วให้สอดน็อตขนาด m8x30 เพื่อเชื่อมลงไปกับตัวเสาอีกที
ขั้นตอนที่ 5
หารูที่เป็นจุดเชื่อมระหว่างขาเชื่อมประตูและบานประตู จากนั้นให้ตอกหมุดหรือทำเครื่องหมายลงไปตรงกลางของแต่ละรู จากนั้นค่อยดึงขาจับยึดเสาออกจากประตู โดยการปลด C-clamps ออก
ขั้นตอนที่ 6
ใช้สว่านไฟฟ้าขนาด 10.5 bit เจาะลงไปในเสาตรงที่ได้ทำสัญลักษณ์ไว้
ขั้นตอนที่ 7
ให้แนบตัวจับยึดเสาที่ประกอบไว้เสร็จเรียบร้อยแล้วเข้ากับเสาประตู โดยทำการใส่น็อตตัวผู้ M10x200 4 อัน ผ่านรูเเต่ละช่องบนตัวจับยึดที่เราประกอบบเข้ากับตัวเสาไว้ดังภาพ ยึดให้แน่นโดยใช้ แหวนรองน็อต (Washer) ¢10, Lock Washer ¢10 และน็อตตัวเมีย (Nut) M10
ขั้นตอนที่ 8
ให้นำขาเชื่อมประตูประกอบเข้ากับประตู โดยการใส่น็อตตัวผู้ขนาด M10x75 สองตัวลงไปในรูที่เจาะเชื่อมไว้ตรงประตู ยึดให้สลักให้แน่นโดยการใช้ Lock Washer ¢ 10 และน็อตตัวเมีย (Nut) M10 และน็อตตัวเมีย (Nut) M10
ขั้นตอนที่ 9
ตัดน็อตตัวผู้ที่ยาวเกินออกมา โดยใช้เลื่อย
ขั้นตอนที่ 10
การติดตั้งตัว opener
ประกอบตัว Opener เข้ากับขาจับยึดเสาที่ประกอบไว้เรียบร้อยแล้วด้วยสลักแบบเคลวิส 4 อันที่เตรียมไว้ อันแรกสอด ลงไปในรู เพื่อเชื่อมระหว่าง ตัว Gate Opener กับขาจับยึดเสา ส่วนสลักที่เหลือให้สอดลงไปในรูที่เชื่อมระหว่าง Gate Opener กับ ขาจับยึดเสาที่ประกอบไว้แล้ว และล็อกสลักแบบเคลวิสอีกครั้งด้วยกิ๊ฟล็อก
วิธีติดตั้งกล่องควบคุม Mountung the control box
ขั้นตอนที่ 1
อุปกรณืที่จำเป็นสำหรับการติดตั้งกล่องควบคุมนั่นก็คือ น็อตสกรู และเมื่อจะติดตั้งกล่องงควบคุมต้องให้แน่ใจว่าพื้นที่ที่ติดตั้งจะต้องปลอดภัย และต้องอยู่สูงกว่าพื้นดินอย่างน้อย 100 cm เพื่อป้องกันให้ห่างไกล จากฝน หิมะ ซึ่งอาจจะทeให้เกิดความเสียหายแก่กล่องควบคุมได้ ก่อนทำการเชื่อมต่อสสายไฟเข้ากับกล่องควบคุม ต้องให้แน่ใจว่าสายเคเบิลไม่ได้ทำการเชื่อมต่อกับกระแสไฟอยู่
ขั้นตอนที่ 2
สอดสายเคเบิลหลักกับสายเคเบิลของตัว Gate opener ผ่านเข้าตรงด้านหน้าของอุปกรณ์ที่ช่วยจัดระเบียบสาย เคเบิล (Strain Relief) ต่อเข้าไปยังกล่องควบคุมโดการปลดสกรูของอุปกรณ์ที่ช่วยจัดระเบียบสายเคเบิล (Strain Relief) ที่ถูกติดอยู่ต้องข้างกล่องควบคุม ซึ่งจะอยู่ฝั่งซ้ายมือล่างสุด จากนั้นให้สอดสายเคเบิลเข้าไปในกล่องควบคุม และเช็คให้แน่ใจความยาวของสายเคเบิลนั้นยาวพอตามลำดับแผงต่อสายไฟ (Terminal Box) ของกล่องควบคุม ขันให้แน่นอีกทีด้วย sealing nut สายเคเบิลก็จะถูกล็อค
ข้อควรระวัง ควรติดตั้งกล่องควบคุมในพื้นที่ที่ระบายอากาศ ห่างไกลจากฝนและแสงแดด
Note : กล่องควบคุมติดตั้งอยู่ฝั่งเดียวกับประตูหัก (Gate 1) เพื่อที่ว่า electric lock สามารถูกติดตั้งอย่างเหมาะสม
ขั้นตอนที่ 3
สอดสายเคเบิลตัว Gate Opener ของประตู 2 และสายเคเบิลของ ไฟสัญญาณเตือน (Alarm lamp) เข้าไปในกล่องควบคุม โดยผ่านอุปกรณ์ที่ช่วยจัดระเบียบสายเคเบิล (Strain Relief) จากนั้นให้ทำตามขั้นตอนที่ 2
การเชื่อมต่อของ Control board
วิธีต่อวงจรบานสวิง
สอดขดลวดเปล่าเข้ากับขั้วปลายสายไฟของแผงต่อสายไฟของตัว Opener ลวดเส้นแดงต่อเข้ากับขั้ว Motor1+ ลวดเส้นดำต่อเข้ากับ Motor1- ลวดเส้นสีฟ้าต่อเข้ากับ ULT1 ลดเส้นสีเขียวต่อเข้ากับ COM และลวดเส้นสีเหลืองต่อเข้ากับ DLT1 Actuator 2
การติดตั้งจะคล้ายคลึงกับ Actuator 1 สอดขดลวดเปล่าเข้ากับแผงต่อสายไฟของตัว Opener ลวดเส้นแดงต่อเข้ากับ Motor2+ ลวดเส้นสีดำต่อเข้ากับ Motor2-ลวดเส้นสีน ้าเงินต่อเข้ากับ ULT2 ลวดเส้นสีเขียวต่อเข้ากับ COM และลวดเส้นเหลืองต่อเข้ากับ DLT2
ไฟสัญญาณเตือน Alarm lamp (optional) ขดลวดเส้นสีแดงของไฟสัญญาณเตือนสามารถต่อเข้ากับ LAMP(11#) และลวดเส้นสีขาวต่อเข้ากับอีกอันนึง (#12)
แบตเตอรรี่ส ารอง Back-up Battery (optional)
24v+ ของแบตเตอร์ร่ีควรผูกไว้กับขัว้ BAT+(#13) และ 24v- ควรผูกเข้ากับ BAT-(#14) ข้อแนะน า ควรใช้ Controller LM118 (WA4004) เชื่อมต่อเข้ากับเเบตเตอร์รี่ด้วย Battery’s terminal ของ Control board ถ้าหากแบตเตอร์ร่ีถูกใช้ให้เป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าหลัก (ยกตัวอย่างเช่น SOL PLUS KIT)
Photocell Beam System (PBS) (optional)
ให้ใช้เคเบิลแบบสองสาย (2 core cable) เพื่อเชื่อมขั้ว ʺ -~ʺของวงจรร่วมของโฟโตเซล (Photocell’s emitter) ต่อเข้ากับ ʺ 14 ʺและขั้ว ʺ +~ ʺ ต่อเข้ากับ ʺ 9 ʺ ส่วนสายที่สองของขั้ว ʺ -~ʺและขั้วʺ +~ ʺของตัวรับข้อมูลโฟโตเซลให้เชื่อมเข้ากับ ʺ 16 ʺและ ʺ 17 ʺ และขั้วNC ให้เชื่อมเข้ากับ ʺ 18 ʺ
ปุ่มหยุด Push button (optional)
ลวดเส้นสีแดงควรต่อเข้ากับ o/s/c และลวดเส้นสีขาวต่อเข้ากับอันอื่น
Loop detector (optional)
ขั้นตอนแรกให้นำ Loop detector board เข้าไปใน control board จากนั้นให้เชื่อม Loop detector เข้ากับ control board
เสาอากาศ Exit Wand (optional)
ขั้นตอนแรกให้นำเสาอากาศ (Exit Wand) (Exit Wand) เข้าไปใน Control Board จากนั้นให้เชื่อมเสาอากาศ(Exit wand) เข้ากับ Control board
กลอนล็อคอัตโนมัติ Electric lock (optional) กลอนล็อคอัตโนมัตคิวรผูกเข้ากับขั้ว (LOCK)
ตัวรับสัญญาณภายนอก External Receiver (optional)ลวดสีน้ำตาลของตัวรับสัญญาณภายนอกควรเชื่อมเข้ากับขั้ว ʺ19ʺ
ลวดสีดำของตัวรับสัญญาณภายนอกควรเชื่อมเข้ากับขั้ว ʺ20ʺ ลวดเส้นสีแดงของตัวรับสัญญาณภายนอกควรเชื่อข้ากับขั้ว ʺ9ʺ
แผงปุ่มกด Wired Keypad 24VDC (optional)
ลวดเส้นสีแดงของแผงปุ่มกดควรเชื่อมเข้ากับขั้ว ʺ9ʺ
ลวดเส้นสีดำของแผงปุ่มกดควรเชื่อมเข้ากับขั้ว ʺ14ʺ
ลวดเส้นสีขาวของแผงปุ่มกดควรเชื่อมเข้ากับขั้ว ʺ19ʺ
ลวดเส้นสีฟ้าของแผงปุ่ม กดควรเชื่อมเข้ากับขั้ว ʺ20ʺ
แผงโซลาเซลล์ Solar Panel (optional)
ดูวิธีการติดตั้งได้ที่คู่มือติดตั้ง Solar panel และ Controller ที่แยกไว้ต่างหาก
วิธีติดตั้งและลบรีโมทคอนโทรล
กดปุ่ม LEARN จากนั้นจากหน้าดิจิตอลก็จะแสดง Ln จากนั้นให้กดปุ่มในรีโมทคอนโทรล 2 ครั้ง ภายในสองนาที จอดิจิตอลจะแสดง Ln เป็นไฟสว่าง 4 วินาที จากนั้นจอก็จะกลับมาแสดง ʺ- -ʺ นั่นหมายความว่ารีโมท ได้รับการบันทึกเข้าไปในเครื่องเรียบร้อยแล้ว
คำเตือน เมื่อทำการใช้งานตั้ง Opener r ควรทำในกรณีที่ประตูปราสจากสิ่งกีดขวางและได้รับการปรับแต่งที่เหมาะสม ไม่ควรบุคคลหรือยานพาหนะต่างๆ ออกจากประตุในขณะที่มันกำลังทำงาน และไม่อนุญาตให้เด็กๆ มาวิ่งเล่นบริเวณประตูรวมถึงรีโมทคอนโทรลด้วยและตัวรับข้อมูลของ Swing gate opener และวงจรของีโมทคอนโทรลนั้นถูกตั้งค่ามาให้ใช้โค้ดเดียวกัน ในกรณีนำรีโมทคอนโทรลยี่ห้ออื่นมาใช้ จะไม่สามารถใช้ได้ ต้องทำโปรแกรม เพื่อเพิ่มโค้ดของรีโมทคอนโทรลยี่ห้อนั้นๆ เข้าไปก่อน เพื่อให้ทำงานด้วยกันได้
วิิธีลบรีโมทคอนโทรล
การตั้งค่า Control board
1.เช็คให้แน่ใจว่าได้ทำกับติดตั้งตัวบานสวิงเรียบร้อยแล้ว ให้เสียบสายดินเข้ากับปลั๊กที่ใกล้ที่สุด จากนั้นจอแสดงผลดิจิตอลที่ติดตั้งไว้ในบอร์ดควบคุม4.การตั้งค่าการระยะห่างในการเปิดประตูหลักและประตูรอง
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผล P3 น่ั่นหมายความว่าท่านได้เข้าสู่การตั้งค่าระยะห่างในการเปิดประตูหลักและประตูรองแล้ว
ซึ่งการปรับตั้งค่านี้สามารถทำได้โดยการกดปุ่ม INC และ DEC จอจะแสดงผล 0-9 นั่นก็หมายถึง ระยะเวลาในการเปิดประตูหลัก ซึ่ง 0 นั่นหมายถึงประตูหลัก และประตูรองเปิดพร้อมกัน ถ้าจอดจิติอลแสดงผล 1 น่ันหมายถึงว่าประตูบานหลักจะเปิดก่อนประตูรอง 1 วินาที โดยการตั้งค่าสูงสุดคุณสามารถปรับได้ถึง 9 วินาที
ในแต่ละครั้งถ้าคุณกดปุ่ม INC นั่นหมายถึงว่าคุณจะสามารถปรับการตั้งค่าเพิ่มขึ้นได้ทีละ 1 วินาที แต่ถ้าคุณกดปุ่ม DEC นั่นก็หมายถึงว่า คุณสามารถปรับลด การตั้งค่าได้ทีละ 1 วินาที เช่นเดียวกัน
จากนั้นกดปุ่ม FUNC อีกครั้งเพื่อบันทึกการตั้งค่าดังกล่าว จอแสดงผลดิจิตอลจะแสดง P4 นั่นก็หมายถึงว่าการติดตั้งการตั้งค่าในได้เสร็จสิ้นแล้ว
(การตั้งค่าจากโรงงาน 3 วินาที)
6.การปรับการตั้งค่าการตรวจจับส่ิงกีดขวางและการควบคุมบานประตู
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผล P5 ท่านก็จะเข้าสู่โหมดการควบคุมบานประตู เมื่อเกิดมีการติดตั้งที่ไม่เหมาะสมก็อาจท าให้เกิดอันตรายของระบบและบุคคลทั่วไปได้ โดยเฉพาะเด็กๆที่อาจได้รับการบาดเจ็บจนอาจถึงตายได้
ในกรณีท่ีประตูปิด
เม่ื่อประตูได้ติดตั้งระบบตรวจจับเซนเซอร์ และหากประตูได้ตรวจพบส่ิ่งกีดขวางในขณะที่ประตูเปิดหรือปิด ประตูจะทำงานในทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่จะไปแล้วก็จะหยุด ซึ่งความยาวและน้ำหนักเป็นสิ่งสำคัญในการปรับแรง และในการการปรับแรงนี้จะต้องปรับพลังของแรงให้สูงพอต่อสิ่งกีดขวางขนาดเล็กๆ อย่างเช่น กิ่งไม้หรือลม เพ่ือไม่ให้เกิดการหยุดของประตูที่สร้างความน่ารำคานแก่ผู้ใช้และต่ำพอท่ีจะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อการหนีบเข้ากับบุคคลหรือยานพาหนะ
6a. การปรับการตั้งค่าควบคุมบานประตู1(Adjust Stall Force of Gate Opener 1)
โดยในแต่ละครั้งที่คุณกดปุ่ม INC ระดับการตั้งค่าจะเพิ่มมาทีละ 1 ครั้ง แต่ถ้าหากคุณกดปุ่ม DEC ก็หมายถึงคุณได้ปรับลดระดับการตั้งค่าลงมาอีก 1 ครั้ง จากนั้นให้กดปุ่ม FUNC อีกครั้ง เพ่ื่อเก็บบันทึกข้อมูลการตั้งค่า จากนั้น ต่อดิจิตอลจะแสดงผล P6 นั่นหมายความว่าการตั้งค่าดังกล่าวได้เสร็จสิ้น
(การตั้งค่าจากโรงงาน ระดับ 3)
6b.การปรับการตั้งค่าในการควบคุมบานประตู2 (Adjust Stall Force of Gate Opener 2)
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผลว่า P6 น่ันหมายถงึว่าท่านได้เข้าสู่การตัง้ค่าในการปิดประตู2 แล้วซึ่งลักษณะการตัง้เป็นรูปแบบเดียวกับข้อ 6a จากนั้นให้กดปุ่ม FUNC อีกครัง้เพ่ือเก็บบันทึกข้อมูลการตั้งค่าดังกล่าว จากนั้น จอดจิติอลจะแสดงผลว่า P7 นั่นหมายความว่าการตั้งค่าดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว
Note : คุณจำเป็นต้องเพิ่มแรงในการหน่วงประตูในสภาพอากาศท่ีหนาวเย็น เพ่ือเพิ่มแรงของบานพับประตูพลังในการเปิดปิดประตูจะปรับอัตโนมัตติามแรงหน่วงประตูท่เีราได้ตั้งค่าไว้
7.การปรับความเร็วเต็มสปีดของมอเตอร์ Gate Opener (MRT)
การปรับความเร็วเต็มสปีดของมอเตอร์ สามารถปรับให้หยุดการทำงานได้หลังจากที่ถูกตั้งค่าระบบเวลาไว้หรือในกรณี Limit Switch ไม่สามารถทำงานได้และตัวคลัชได้ถูกถอดออกมา
7a.การปรับความเร็วเต็มสปีดของตัวมอเตอร์ Gate Opener 1 (MRT)
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผลว่า P7 หมายความว่าท่านได้เข้าระบบการปรับตั้งค่าดังกล่าวแล้ว
ซึ่งการปรับตั้งค่านี้สามารถทำได้ โดยการกดปุ่ม INC และ DEC จอจะแสดงผล 01-50 เพื่อจะแสดงผลของ MRTตั้งแต่ 1-50 วินาที คุณสามารถกดปุ่ม INC และ DEC เพื่อหรับลดหรือเพิ่มความเร็วของการตั้งค่า จากนั้นให้กดปุ่ม FUNC อีกครั้งเพื่อบันทึกข้อมูลการตั้งค่า ดังกล่าว จากนั้นจอดิจิตอลจะแสดงผลว่า P8 นั่นหมายความว่าการตั้งค่านี้ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว (การตั้งค่าจากโรงงาน 40 วินาที)
7b.การปรับความเร็วเต็มสปีดของมอเตอร์ตัว Gate Opener 2 (MRT)
เมื่อจอดิจิตอลแสดงว่า P8 นั่นหมายความว่าคุณได้เข้าสู่การปรับการตัง้ค่าดังกล่าวแล้ว ซ่ึงลักษณะการตั้งเป็นรูปแบบเดียวกับข้อ 7a จากนั้นให้กดปุ่ม FUNC อีกครั้ง เพ่ื่อเก็บบันทึกข้อมูลการตัง้ค่าดังกล่าว จากนั้น จอดจิติอลจะแสดงผลว่า P9 นั่นหมายความว่าการตั้งค่าดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว
8.การตั้งค่าระบบตัวตรวจจับเซ็นเซอร์ Photocell beam system
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผล P9 นั่นหมายความว่าคุณได้เข้าสู่ระบบการตั้งค่าดังกล่าวแล้วคุณสามารถกดปุ่ม INC หรือ DEC เพื่อเปิดหรือปิดระบบการทำงานดังกล่าว ถ้าจอดิจิตอลแสดงผล 11 หมายความว่าคุณได้เปิดระบบการทำงานแล้ว ถ้าจอดิจิตอลแสดงผล 00 ระบบการทำงานนีไ้ด้ถูกปิดลงแล้ว จากนั้นให้กดปุ่ม FUNC อีกครั้ง เพ่ือเก็บบันทึกข้อมูลการตั้งค่าดังกล่าว จากนั้นจอดจิติอลจะแสดงผลว่า PA นั่นหมายความว่าการตั้งค่าดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว (การตั้งค่าจากโรงงาน 00)
Note : ถ้าหากระบบได้ถูกเซ็ตให้จอแสดงผลเป็น 11 ตัว Gate Opener จะไม่ทำงานจนกว่าจะติดตั้งตัวอุปกรณ์ตรวจจับเซ็นเซอร์ Photocell Beam และระบบตรวจจับเซ็นเซอร์ จะทำงานต่อ เม่ือประตูปิดเท่านั้น แต่ตัว Gate Opener จะกลับอยู่ในตา แหน่งที่ประตูเปิด เมื่อมีสิ่งกีดขวางไปบังเซนเซอร์การทำงานของ Photo eye
9.การตั้งเวลาประตูปิดอัตโนมัติ
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผล PA หมายความว่าเท่าได้เข้าสู่การตั้งค่าดังกล่าวแล้ว คุณสามารถกดปุ่ม INC หรือ DEC เพื่อปรับการตั้งค่า จอจะแสดงผล 01-99 เม่ือแสดงถึงระยะเวลาในการปิดประตู ซึ่งการปรับตั้งค่านี้สามารถทำได้โดยการกดปุ่ม INC และ DEC เพื่อเพิ่มหรือลดระดับการตั้งค่า ถ้าหากคุณกดปุ่ม INC จะเพิ่มระดับการทำงานทีละ 1 วินาที แต่ถ้าหากคุณกดปุ่ม DEC จะลดระดับการทำงานลงมาทีละ 1 วินาทีเช่นเดียวเดียวกัน แต่ถ้าหากในกรณีที่จอดิจิตอลแสดงผลว่า 00 หมายความว่าระบบการทา งานดังกล่าวจะถูกปิดลง และประตูจะถูกเปิดค้างไว้แบบนั้น
จากนั้นให้กดปุ่ม FUNC อีกครั้ง เพ่ือเก็บบันทึกข้อมูลการตั้งค่าดังกล่าว จากนั้น จอดจิติอลจะแสดงผลว่า Pb นั่นหมายความว่าการตั้งค่าดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว
(การตั้งค่าจากโรงงาน 60 วินาที)
10.การตั้งค่าระยะเวลาในการเปิดประตูแบบน่ิ่มนวล
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผลว่า Pb น่ั่นหมายความว่าท่านได้เข้าสู่ระบบการตั้งค่าดังกล่าวแล้ว ท่านสามารถกด INC หรือ DEC เพื่อปรับการตั้งค่าดังกล่าว โดยระดับการตั้งค่าจะมีตั้งแต่ 1-9 วินาที จากนั้นให้กดปุ่ม FUNC เพื่อบันทึกการตั้งค่า จากนั้นจอดิจิตอลจะแสดงผลว่า PC นั่นหมายความว่าการตั้งค่าดังกล่าวได้เสร็จสิ้น
(การตั้งค่าจากโรงงาน 3 วินาที)
Note : FRP = FAST RUNNING PERIOD ระยะเวลาความเร็วในการเปิดหรือปิดประตูแบบไว SPP = SOFT STOP PERIOD ความเร็วระดับช้าในช่วงระยะเวลาก่อนที่ประตูจะปิด
GPR= GATE OPENING OR CLOSING RUNNING PERIOD ระยะเวลาทงั้หมดในการเปิด-ปิดประตูSTP = SOFT START PERIOD ความเร็วระดับช้าในการเปิ ดประตู
GRP = STP+FRP+SPP AND SPP= GRPSTP-FRPและ SPP จะไม่สามารถปรับได้ โดยตรงแต่จะปรับอัตโนมัติตามการทำงานของ FRP
11.การตั้งค่าระยะเวลาความเร็วในการเปิดหรือปิดประตูแบบไว (FRP) เพื่อที่จะตั้งค่าความเร็วระดับช้าในช่วงระยะเวลาก่อนที่ประตูจะปิด (SPP) ไปพร้อมกัน
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผล PC หมายความว่าท่านได้เข้าสู่การปรับการตั้งค่า ระยะเวลาความเร็วในการเปิดหรือปิดประตูแบบไว (FRP) โดยท่านสามารถกดปุ่ม INC หรือ DEC เพื่อปรับระบบการตังค่าดังกล่าว และความเร็วระดับช้าในช่วงระยะเวลาก่อนประตูปิด (SPP) ก็จะทำงานไปพร้อมกัน ซึ่งระบบการทำงานแบบ Running speed ได้ถูกออกแบบมาเป็น 2 ระบบ คือ แบบไว้ Fast running speed และแบบช้า Soft running speed โดยที่คุณสามารถปรับระดับได้ตั้งแต่ 1-28 วินาที (ตั้งค่าจากโรงงาน 15 วินาที)
ยกตัวอย่าง ในกรณีที่ Soft start period (STP) ถูกตั้งค่าไว้ที่ 3 วินาที และ Gate Opening or Closing Running Period (GRP) ถูกตั้งค่าไว้ที่ 23 วินาที และเราต้องการตั้งค่า Soft Stop Period(SPP) ให้เป็น 4 วินาที เราจะทำได้อย่างไร คำตอบก็คือ ให้เอา GRP-STP-SPP = FRP 23-3-4 = 16 วินาที คุณก็สามารถตั้ค่า FRP ให้ได้ตาม SPP ที่ต้องการได้แล้ว
12.การคืนค่ากลับไปตั้งค่าตามโรงงานที่ตั้งมา
เมื่อจอดิจิตอลแสดงผล Pd คุณสามารถกดปุ่ม INC หรือ DEC ข้อมูลทั ้งหมดก็จะกลับคืนสู่การตั้งค่าแบบโรงงาน และจอดิจิตอลจะแสดงผล dF หมายความระบบกลับกลับคืนการตั้งค่าจากโรงงานแล้ว
13. ในกรณีที่ข้อมูลทั้งหมดได้ทำการตั้งค่าไว้แล้ว และไม่ต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขอะไรอีกให้กดปุ่ม FUNC จอดิจิตอลก็จะแสดงผล "- - "นั่นก็หมายความตัว Gate Opener ได้เข้าสู่โหมดสแตนบาย
ในกรณีที่ Gate opener 2 ถูกตั้งให้เป็นประตูหลัก (Master gate) (เมื่อ ʺ10ʺ แสดงผลในโหมด P2 ใน Control Board) จอดิจิตอลจะแสดงผลว่าʺ-nʺ ก่อนที่ประตูจะเปิ ดและปิดอย่างสนิท
การปรับ Limit Switch
ขั้นตอนที่ 13
วิธีปรับ Limit Switch ของ Actuator 1
ตำแหน่งของ Limit switch A ถูกตั้งค่ามาจากโรงงานแล้วจึงไม่ควรถูกปรับแต่งอีกครั้ง เสียบปลั๊กเพื่อเชื่อมไฟที่ตัว Gate opener แล้วใช้ไขควง เพ่ือไขสกรูของ Limit switch B ออก จากนั้นก็ปรับตำแหน่งตามที่ต้องการ
Note : ควรวางวงแหวนเหล็ก(magnetic ring) ระหว่าง Limit switch A และ B ทุกครั้ง
ขั้นตอนที่ 14
วิธีปรับ Limit switch ของ Actuator 2
ตำแหน่งของ Limit switch C ถูกตั้งค่ามาจากโรงงานแล้วจึงไม่ควรถูกปรับแต่งอีกครั้ง ใช้ไขควงเพื่อไขสกรูของ Limit switch D ออกจากนั้นก็ปรับตำแหน่งตามที่ต้องการ
Note : ควรวางวงแหวนเหล็ก (magnetic ring) ระหว่าง Limit switch C และ D ทุกครั้ง
Note : วงแหวนเหล็ก(magnetic ring) ท่ีอยู่ในด้ามเช่ือมประตู (Moving Rod) ควรถูกวางไว้ให้อยู่ระหว่าง Limit Switch ในแต่ละ Actuator
วิธีการทำงาน
ผู้ใช้สามารถปรับตั้งค่าการทำงานของประตูให้เสร็จ ในครั้งเดียว เมื่อประตูอยู่ในตำแหน่งท่เีปิด ให้กดและปล่อยรีโมทคอนโทรล จากนั้น ประตูจะถูกโปรแกรมให้เข้ามาอยู่ในตา แหน่งที่ปิดและหยุดลง
เม่ือประตูอยู่ในตำแหน่งที่ปิดให้กดและปล่อยรีโมทคอนโทรล จากนั้น ประตูจะถูกโปรแกรมให้เข้ามาอยู่ในตำ แหน่งที่เปิดและหยุดลง
ในขณะเดียวกันถ้าประตูอยู่ในสถานะกำลังเคล่ือน ให้กดและปล่อยรีโมทคอนโทรล ประตูจะหยุดทันทีและคำสั่งต่อไปของรีโมทจะถูกให้ทำงานย้อนกลับจากทศิทางเดมิ จากนั้น ประตูก็จะถูก โปรมแกรมให้อยู่ในตำแหน่งปีิดหรือเปิดของประตูนั้นๆ
แต่ถ้าหากประตูหยุดลงในกรณีที่มีีสิ่งกีดขวางอยู่ตรงประตูคำสั่งของรีโมทคอนโทรลถูก สั่งให้ประตูทำงานย้อนกลับจากทิศทางเดิมของประตูจากนั้น ประตูก็จะหยุดในตำแหน่งที่มันถูกโปรแกรมให้อย่ใูนสถานะปิดและสุดท้าย ประตูจะทำงานในทิศทางตรงกันข้ามกันในกรณีที่เจอสิ่งกีดขวางหรือกระที่ประตูหยุดกะทันหัน (Stall Force) ในขณะที่ประตูกำลังปิด จากนั้นประตูจะถูกโปรแกรมให้อยู่ในสถานะเปิด
Note : การปรับการตั้งค่าการตรวจจับสิ่งกีดขวางและการควบคุมบานประตู (Stall Force) สามารถปรับได้ถึง 9 ระดับ และสุดท้ายประตูจะทำงานในทศิทางตรงกันข้ามกันในกรณีท่ีเจอส่ิงกีดขวางหรือประตูหยุดกะทันหัน (Stall Force) ในขณะท่ีประตูกำลังปิด จากนั้น ประตูจะถูกโปรแกรมให้อยู่ในสถานะเปิด
Note : การปรับการตั้งค่าการตรวจจับสิ่งกีดขวางและการควบคุมบานประตู (Stall Force) สามารถปรับได้ถึง 9 ระดับ
กุญแจปลดล็อคฉุกเฉิน Emergency Release
ในกรณีท่ีระบบล้มเหลวหรือไฟตัด ประตูสามารถเปิดบังคับได้ด้วยมือ ซึ่งวิธิีการก็คือ เปิดปุ่มท่ีใช้ไขในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งติดตั้งอยู่ตรงด้านบนสุดของ Actuator Body ตามรูป จากนั้น ให้ไขกุญแจฉุกเฉินโดยหมุนไป 90 องศา ตามเข็มนาฬิกา มอเตอร์จะถูกปลอดล็อคและ Inverse operation จะถูกกู้ข้อมูล โดยอัตโนมัติ
Installation for push-to-Open Gates
ในการติดตั้ง Push-to-Open ประตูจะต้องถูกเปิดออกจากตัวบ้าน สิ่งจำเป็นต่อการติดตั้งของแต่ละบานประตูก็คือ Push-to-Open (PSO part) และประตูจะต้องอยู่ในตำแหน่งที่ปิด ในระหว่างการติดตั้งตัว Opener
กุญแจปลดล็อคฉุกเฉิน Emergency Release
ในกรณีท่ีระบบล้มเหลวหรือไฟตัด ประตูสามารถเปิดบังคับได้ด้วยมือ ซึ่งวิธีการ ก็คือ
เปิดปุ่มท่ีใช้ไขในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งติดตั้งอยู่ตรงด้านบนสุดของ Actuator Bodyตามรูป จากนั้น ให้ไขกุญแจฉุกเฉินโดยหมุนไป 90 องศา ตามเข็มนาฬิกา มอเตอร์จะถูกปลดล็อคและ Inverse operation จะถูกกู้ข้อมูล โดยอัตโนมัติ
Installation for push-to-Open Gates
ในการติดตั้ง Push-to-Open ประตูจะต้องถูกเปิดออกจากตัวบ้านสิ่งจำเป็นต่อการติดตั้งของแต่ละบานประตูก็คือ Push-to-Open (PSO part) และประตูจะต้องอยู่ในตำแหน่งที่ปิด ในระหว่างการติดตั้งตัว Opener
การบำรุงรักษา
คำเตือน : ทำการตัดกระแสไฟก่อนทำการซ่อมแซม
1.ถ้าต้องการทำความสะอาดให้ใช้ผ้าแห้งเช็ดไปตามตัว Gate Opener จากนั้นให้พ่นสเปรย์ซิลิโคน เพื่อลดรอยขีดข่วนจากการทำความสะอาด ถ้าในกรณีท่ีมีอุณหภมูิ ประมาณ 1 องศาหรือน้อยกว่า ให้สเปรย์ซิลิโดนบนตัว Actuator ทุกๆ 4-6 สัปดาห์ เพื่อป้องกันน้ำแข็งเกาะตัว
2 ควรเช็คตัวตัวเช่ือมบานพับประตูเป็นประจำ เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถประตูสามารถเปิดได้อย่างอิสระและไม่ติดขัด
3.ควรเช็คการติดตั้งเป็นระยะๆ เพื่อดูอายุการทำงานของขาเชื่อมบานประตูและฮาร์ดแวรือาจมีการถูกปรับเปลี่ยน
4.นอกจากบานประตูแล้วก็ไม่ควรละเลยพื้นที่ริเวณรอบๆประตู ซ่ึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยท่ีบริเวณดังกล่าวต้องปลอดโปร่ง สะอาดและปราศจากสิ่งกีดขวาง เพ่ือท่ีจะให้ประตูสามารถเคล่ือนท่ีได้อย่างอสิระ
การตั้งค่าต่างๆ
สนใจสั่งซื้อสินค้า คลิกที่นี่
3 ก.ค. 2567
18 ก.ค. 2567
26 ส.ค. 2567